วันจันทร์ที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550

ผลงาน Josef Muller Brockmann

1950 เป็นการใช้ภาพประกอบจัด Typography เป็นโปสเตอร์ของ Zurich Kunstgewerbe musem เป็นการใช้ภาพประกอบกับการจัด Typo

1951 Zurich Concert Hall Poster ใช้เทคนิคการปริ้นสีดำและพื้นนกลังเป็นสีครีม (Lino cut) เป็นโปสเตอร์ในปี 1951






1952 Zurich Concert Hall Poster ในปีถัดมาใช้เทคนิค (Lino block) ในการพิมพ์ตัวหนังสือและโปสเตอร์แบบนี้ยังใช้ในงานนี้มาตลอดจนถึงปี 1954 แต่เพียงแค่เปลี่ยนการจัดวางและสีมาตลอดทุกปีจน 1954






1952 Zurich Concert Hall Poster for piano อันนี้เป็นงาน piano ในปีเดียวกัน Muller มีแรงบรรดาลใจในการทำงานชิ้นนี้มาจาก คีบอร์ด เปียโน

1953 งานนี้เป็นโปสเตอร์จของ Kanstgewerbe Musem ใช้เทคนิคการ Light Brockmann ทำโปสเตอร์งานนี้ร่วมกับศิลปินคนอื่นในงาน The International Poster Exhibition






1955 Zurich Concert Hall Poster ในปี 1955 ซึ่งเพิ่งมาเปลี่ยนหลังจากที่ใช้แบบเดิมมา 3 ปี ใช้เทคนิค Text รวมกับ Abstract from แต่เขาก็ยังยืนยันว่าไม่ใช่ภาพประกอบ

วันจันทร์ที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550

Swiss and America Typography Style

International Style คืออะไร
เป็นงานออกแบบที่รู้จักกันดีในรูปแบบของ Swiss style เป็นงาน Graphic ที่เน้นชัดทางด้าน TypgGraphy หรือมีรูปแบบคือ มีการเน้นย้ำเรื่องความสะอาดตา อ่านออกได้ และความมีตัวตน รูปแบบการวางที่มีสีดส่วน ใช้ Grid , Sans-seriftypefaces และมีรูปแบบที่ใช้ Asymmetric

ทำไมงานแนว Swiss ถึงต้องมีรูปแบบ Guid , Asymmetric เป็นหลัก
เกิดขึ้นที่เมือง "ซูริก" ซึ่งมีนักออกแบบที่โดเด่นอย่าง Josef Muller Brockmann
เกิดวันที่ 9 พ.ค. 1914 และได้เสียชีวิตลงเมื่อ 30 ส.ค. 1996 เป็นทั้งครูและนักออกแบบ เขาเรียนเกี่ยวกับทางด้าน Architecture Design และ History of Arts ที่มหาวิทยาลัย Kunstgewerbeschure
ปี 1936 ได้เปิดโรงเรียนที่เมือง ซูริก ชื่อว่า Zuric Studio โดยเฉพราะ Graphic Design , Exhibition Design , Photograpy
ปี 1951 ได้ทำโปสเตอร์ให้กับ Tonhalle
ปี 1958 ได้เป็นที่ปรึกษาในเรื่อง Mew Graphic Design โดยร่วมกับ RP Lohsp , Vivarelli , Neuberg.
ปี 1961 ได้เขียนและตีพิมพ์ The Graphic Artist andHis Design Proproblems and Grid Systems in graphic design.
ปี 1971 ได้ตีพิมพ์ Publication History of the Poster and A History of visual communication.

"ความคิดเห็น :muller น่าจะได้รับอิทธิพลในการใช้การออกแบบที่เรียนมาจากโรงเรียนที่เกี่ยวกับ ทางด้าน Architecture Design เขาจึงอาจจะประยุกต์ เข้ากับงานที่มีการใช้ Asymmetric"

ทำไมงาน Style Swiss ถึงเข้ามาแพร่หลายใน America
Internationnal Style ที่เข้ามาใน America
ในช่วงปี 1950-1960ได้มีการมองถึงด้านเกี่วกับชุมชนเพื่อที่จะได้มีการรวมตัวกันเป็นหน่วยงานและถือว่าเหตุการนี้เป็นจุด peak ที่สุดในปี 1970 ก็คือเป็นจุดนึงที่บ่งบอกถึงรากฐานด้านแนวความคิดสมัยใหม่ในยุคนั้น ทำให้เกิด "Intermationnal Typographic Style"
คนที่ชักจูงเข้ามาคือ Bunnell เขาได้นำการออกแบบเข้ามา เช่น -Ulm Journals จากสื่อสิ่งพิมพ์ใน German
-New Graphic Design จาก maggazine ในปก. Swiss
-Josef Muller Brockmann
-Karl Gerstner
หลังจากมีการรวมตัวกันเป็นหน่วยงานขึ้น ในปี 1970 Bunnell ได้เป็นผู้นำทางด้านมุมมองของการ Design งานของเขาได้รับรูปแบบของ เลขาคณิต ใช้สีเดียวในการลง และรูปแบบตัวอีกษรที่ใช้แบบของโรมันแบบที่เป็นแบบตัวอีกษรการออกแบบของ Bunnell ถือว่าเป็นเป็นทางการและมีควมชัดเจน กระชับแน่นอนอยู่ในตัว
และมีการใช้ Paper และ Printing เข้ามาด้วยถือว่าทำให้เกิดเป็นการผลิตงานในรูปแบบใหม่ภายหลังด้วย

วันจันทร์ที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550

International Style

International Style


ซึ่งเป็นที่รู้จักของ Swiss Style เป็นรูปแบบของกราฟฟิกดีไซน์ที่ถูกพัฒนาขี้นในสวิตเซอแลนด์ในปี 1950 ที่มีการเน้นย้ำเรื่องความสะอาดตา อ่านออกได้และความมีตัวตน (หรือมีจุดประสงค์) เครื่องหมายรับประกันคุณภาพของรูปแบบนี้ คือ การวางแบบที่ไม่มีส่วนสัด ใช้แบบตารางสี่เหลี่ยม Swiss Style ยังเกี่ยวเนื่องกับการใช้รูปถ่ายแทนที่ illustrations หรือ การวาดรูปเขียน งานในรูปแบบ Inter Typo Style หลายชิ้นนั้นมีจุดเด่นที่ Typographyซึ่งเป็นพื้นฐานของรูปแบบนี้เพื่อเพิ่มการใช้ตัวอักษรลงไปด้วย


เป็นโปสเตอร์ออกแบบโดย โจเซฟ มูลเลอร์ บรอทแมน ซึ่งเป็นงานตัวอย่างที่แสดงให้เห็นถึงตัวพื้นฐานของสไตล์นี้

กราฟฟิกดีไซน์แบบใหม่ที่มีในสวิตเซอร์แลนด์ในช่วง 1950 ที่กลายเป็นสไตล์โดดเด่นของโลกในช่วงยุค 70 มีความเหมือนเกี่ยวเนื่องกับรูปแบบพื้นฐาน Typography เป็นอย่างมากรูปแบบสไตล์นี้มีจุดที่ชัดเจนคือ ตารางสี่เหลี่ยมคำนวนเพื่อความเรียนร้อย 2.san-serif btype faces (โดยเฉพาะเฮลเวตติก้าที่รู้จักกันตอน 1961)ในรูปแบบของ in a flush left and ragged right 3.ใช้การถ่ายขอวดำแทนการวาดรูป โดยรวมแล้วจะเห็นว่ามีความเรียบง่ายและมีเหตุผล มีโครงสร้างแน่นหนาและเคร่งขรึม ลัดเจนและเป็นรูปธรรมและกลมกลืนกัน
รูปแบบการออกแบบนี้ถูกกลั่นขึ้นจากโรงเรียนสอนการออกแบบ 2 แห่ง ในสวิตเซอร์แลนด์ ที่แรกอยู่ใน Basel โดยอาร์มิน ฮอฟแมน และ อีมิล รูเดอร์ อีกที่หนึ่งอยู่ในซูริค ภายใต้การนำของโจเซฟ มูลเลอร์ บรอคแมน

รูปแบบใหม่นี้มีความคล้ายคลึงกับรูปแบบที่สถาบันวัฒนธรรมในสวิต ใช้เป็นโปสเตอร์เพื่อโฆษณายานพาหนะ ชุดภาพจองฮอฟแมนที่ใช้ในโรงภาพยนต์ Basel และงานของบรอคแมนเป็นงาน 2 ชิ้นที่มีเชื่อเสียงที่สุด การเน้นให้เห็นความแตกต่างระหว่างพื้นฐานการออกแบบหลายๆ แบบของฮอฟแมนกับจังหวะและความเร็วแบบที่สังเกตุเห็นได้ของมุลเลอร์ เป็นลักษณะเด่นในการพัฒนาของสไตล์นี์

สไตล์แบบใหม่นี้เหมะสมกับการเพิ่มขึ้นของที่ประชุมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นการร่วมกันของหลายๆฝ่ายจะต้องใช้สัญลักษณ์ที่บ่งบอกถึงความเป็นสากล เช่นงานโอลิมปิกที่ Typography สไตล์สามารถนำไปใช้ได้อย่างเหมาะสม ด้วยความที่มีครูการสอนที่ดีรวมทั้งความเลื่อมใสการใช้สไตล์ Typography จึงแพร่กระจายอย่างรวดเร็วไปทั่วโลกในอเริกา โรงเรียนสอนออกแบบของ ฮอฟแมนได้ร่วมมือกับโรงเรียนสอนออกแบบเยล ซึ่งกลายเป็นศูนย์กลางชั้นนำของการออกแบบสมัยใหม่ไปทันที


Gerstner, karl Auch du bist liberal (You too are a liberal)

Poretti, A. La Vie est un songe, 1961

Neuberg, Hans. Konstruktive Grafik, 1958

วันเสาร์ที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550

Hello!


Hello!