วันอังคารที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2551

Ecological Footprint

โดยทั่วไปประเทศร่ำรวยมักสร้างรอยเท้า มากกว่าประเทศยากจน ซึ่งเท่ากับพวกเขาขาดแคลนทรัพยากร พวกเขาจึงจำเป็นต้องหยิบยืมจากประเทศที่สามารถผลิตได้มากกว่าบริโภค แต่การหยิบยืมจะต้องไม่มากเกินกว่าความสามารถของโลกโดยรวมที่จะรองรับรอยเท้าทางนิเวศ เพื่อให้เกิดความสมดุลระหว่าง ประชากรที่กำลังเพิ่มขึ้นและทรัพยากรที่โดนใช้ไปและสร้างขึ้นมาโดยไม่เพียงพอที่ไม่สมกับความต้องการของมนุษย์

การคำนวณจำนวนประชากรจากมุมมองของการใช้ทรัพยากรหรือการสร้างรอยเท้าทางนิเวศ จะนำไปสู่ข้อสรุปที่ว่าแม้ประเทศกำลังพัฒนาซึ่งมีจำนวนประชากรมากกว่าและอัตราการเพิ่มประชากรสูงกว่าประเทศพัฒนาแล้ว แต่ยังคงมีจำนวนรอยเท้าน้อยกว่าประเทศพัฒนาแล้ว ทั้งนี้เพราะประชากรของประเทศกำลังพัฒนามีวิถีชีวิตที่ง่ายกว่าจึงสร้างรอยเท้าน้อยกว่า


























วิธีการเช่นนี้เป็นวิธีการเพื่อรักษาสมดุลของทรัพยากร ทางธรรมชาติเพื่อ หรือชะลอการหมดไปอย่างรวดเร็วของทรัพยากรบนโลก


Ecological Footprint


กระบวนการของมันประกอบไปด้วย การเชื่อมโยงระหว่างการค้า การส่งออกเพื่อกระจายทรัพยากรไปสู่ประเทศที่พัตนาเป็นหลัก ไม่ได้หมายความว่าทรัพยากรจากประเทศที่ กำลังพัฒนา จะไม่ได้ทรัพยากรจากประเทศที่ด้อยพัฒนา คือมีเข้ามาแต่ไม่มากเท่า

ประเทศที่พัฒนาแล้วประเทศที่พัฒนาแล้วจะเป็น แกนสำคัญ ในกระบวนการนี้ Ecological Footprintหรือ การสร้างรอยเท้า

ไม่มีความคิดเห็น: